วัน พฤหัสบดี ที่ 6 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554
-วันนี้อาจารย์ได้นัดให้นักศึกษาทุกคน มาตรวจสอบผลงานตัวเองว่าได้ส่งงานครบหรือไม่
วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16
วัน พุธ ที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554
- ในวันนี้มีการสอบปลายภาค ของรายวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
โดยเป็นการสอบแบบ อัตนัย มีจำนวน 3 ข้อ ให้เวลา 1 ชั่วโมง
- ในวันนี้มีการสอบปลายภาค ของรายวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
โดยเป็นการสอบแบบ อัตนัย มีจำนวน 3 ข้อ ให้เวลา 1 ชั่วโมง
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15
วันพุธ ที่ 28 กันยายน 2554
-อาจารย์ได้สรุปเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด ของวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยและส่งงานกลุ่มคือเกมการศึกษาเรื่องหน่วยต่างๆ
-การเรียนรู้คือการปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-สิ่งที่เหมาะสมที่สุดของพัฒนาการของเด็กคือ ของจริงเล่นได้จริงเด็กถึงจะเกิดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณืจริงๆ
-การเรียนรู้คือการปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-สิ่งที่เหมาะสมที่สุดของพัฒนาการของเด็กคือ ของจริงเล่นได้จริงเด็กถึงจะเกิดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณืจริงๆ
อาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นสิ่งที่ได้จากการเรียน สื่อ
บันทึกการเรียนรู้ที่ 14
วันที่ 21 กันยายน 2554
หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีงานเกษียณอายุอาจารย์ และตอนบ่ายมีงานนาฎศิลป์ของปีสอง คณะศึกษาศาสตร์ เอก การศึกษาปฐมวัย
บันทึกการเรียนรู้ที่ 13
วันที่ 14 กันยายน 2554
การเรียนการสอน
-อาจารย์อธิบายเกมการศึกษา
-อาจารย์ตรวจบล็อก
งานที่อาจารย์สั่ง
ให้ส่งเกมการศึกษา ตามหน่อยที่ตนเองได้
การเรียนการสอน
-อาจารย์อธิบายเกมการศึกษา
-อาจารย์ตรวจบล็อก
งานที่อาจารย์สั่ง
ให้ส่งเกมการศึกษา ตามหน่อยที่ตนเองได้
บันทึกการเรียนรู้ที่ 12
วันที่ 7 กันยายน 2554
การเรียนการสอน
การเรียนการสอน
- อาจารย์อธิบายถึงเกมการศึกษา และกำหนดทำส่ง
- นักศึกษาให้ความร่วมมือ ในการที่มีอาจารย์มาสอบสอน 2 คน
วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ที่ 11
วันที่ 31 สิงหาคม 2554
- อาจารย์ร่วมกับนักศึกษาร่วมกันสรุป เกมการศึกษาเป็น Mindmap
-อาจารย์ให้แบ่งกลุม 3-5 คน ฉับฉลากทำเกมการศึกษาแต่ละหน่วย
-อาจารย์ได้อธิบายถึงเกมการศึกษาให้นักศึกษาฟังอย่างละเอียด
-และให้นักศึกษาทำ MindMap เกี่ยวกับเกมการศึกษาว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง-อาจารย์ได้สอนการทำ MindMap ในโปรแกรม MindMapper5.0แล้วนำไปใส่ลงในบล็อคโดยบันทึกเป็ไฟล์รูปภาพ
- อาจารย์ร่วมกับนักศึกษาร่วมกันสรุป เกมการศึกษาเป็น Mindmap
-อาจารย์ให้แบ่งกลุม 3-5 คน ฉับฉลากทำเกมการศึกษาแต่ละหน่วย
-อาจารย์ได้อธิบายถึงเกมการศึกษาให้นักศึกษาฟังอย่างละเอียด
-และให้นักศึกษาทำ MindMap เกี่ยวกับเกมการศึกษาว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง-อาจารย์ได้สอนการทำ MindMap ในโปรแกรม MindMapper5.0แล้วนำไปใส่ลงในบล็อคโดยบันทึกเป็ไฟล์รูปภาพ
วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ที่ 10
วันที่ 24 สิงหาคม 2554
-ทำไมต้องทำสื่อ เพื่อรู้เทคนิคในการทำสื่อเพื่อนำไปพัฒนาในกสรสอนเด็กถ่ายทอดความรู้
ถ่ายทอดทักษะสิ่งที่สร้างขึ้นมา / ผลิตของจริง / สถานการณ์จริง
- ต้นแบบ
เพลง
นิทาน
เกมการศึกษา
เทคนิค
- การเคลื่อนไหว คือ การเดิน - การหมุน
- Popup
- เชื่อก
- ทำภาพนูน
- วัตถุเสมือน
- สื่อเป็นตัวถ่ายทอด สื่อต้องมีโอกาสให้เด็กได้สังเกต
- สื่อต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้
- สื่อเป็นตัวถ่ายทอดความรู้และทักษะ
- อาจารย์ ยกตัวอย่างในการทำสื่อ พับ เช่น รูปสุนัข
ตัวกำกับ
- ตัวเด็ก : แข็งแรงไหม ( ความแข็งแรงของสื่อ )
- สาระของเรื่อง เช่น
1. หน่วยของผลไม้
2. เคลื่อนไหวและจังหวะ
-จะใช้ในเหตุการณ์ไหน จังหวะไหน
- อ่านเกมการศึกษา
-เสริมประสบการณ์ ของจริง นิทาน
-คำคล้องจอง ภาพต่างๆ - เวลา : ประหยัดเวลา - งบประมาณ - การเคลื่อนไหวและจังหวะ
- ภาพ ( การประกอบอาหาร )- เกมการศึกษา
1. กลางแจ้ง : เครื่องเล่นสนาม เช่น ทราย , ล้อ
ยาง > คิดออกแบบเกม > กระโดด
2. ศิลปะสร้างสรรค์ : สีน้ำ , ดินน้ำมัน , สีเทียน
- เกมอิสระ : เล่นตามมุม
การบ้าน
- ทำสื่อที่ทำจากขวดน้ำที่ใช้แล้ว ( ขยะจากขวดน้ำ นำมารีไชร์เคอร์ ) 4 คน ต่อ 1 ชิ้น งาน
- เด็กเรียนรู้อะไร- วัตถุประสงค์
- วิธีทำ ( ถ่ายรูปตามลำดับขั้นตอน )
- อ่านเกมการศึกษา
- เด็กเรียนรู้อะไร- วัตถุประสงค์
- วิธีทำ ( ถ่ายรูปตามลำดับขั้นตอน )
- อ่านเกมการศึกษา
บันทึกการเรียนรู้ที่ 9
วันที่ 17 สิงหาคม 2554
-อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงานที่สั่งสัปดาห์ที่แล้ว
และส่งงานที่ค้าง
-ส่งงานที่อบรมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2554 ทุกชิ้น
-แบ่งกลุ่มคนละ 5 คน เล่นเกมการศึกษา และอาจารย์แนะนำวิธีการเล่นเล่น
- ร่วมกันตอบคำถาม อภิปราย ให้ความเห็น จากการเล่นเกมการศึกษา
- เกมการศึกษา เด็กได้ลองผิดลองถูกในการเล่น ได้สังเกต รู้จักเปรียบเทียบ
- อาจารย์ได้นำหนังสือ Popup เรื่อง สัตว์ป่า นำมาเป็นตัวอย่างในการทำสื่อ Popup
และอาจารย์ได้บอกว่าจากการที่เราได้ทำสื่อหลายๆชิ้นช่วยทำให้เราสามารถนำไปใช้ในการเรียนได้ตลอดเวลาเช่นจัดป้ายนิเทศและนำไปใชในการฝึกสอนเด็กได้
วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ที่ 6
วันพุธ 27 กรกฎาคมพ.ศ 2554
- อาจารย์ พูดถึงการเดินรณรงค์ในวันพุธที่ผ่านมา
- สื่อในการรณรงค์มีอะไรบ้าง
- การแสดง
- การโฆษณา
- ป้าย รูปภาพ คำขวัญ
- การพูดอภิปราย
- ใบปริว
- การประชาสัมพันธ์
- วิทยุ
- กิจกรรมในการเดินรณรงค์มีอะไรบ้าง
- การเดิน
- การเดิน
- การวาดภาพใส่ไปรษณีการ์ด
- การแจกการ์ดที่ทำด้วยตนเอง
- การแจกการ์ดที่ทำด้วยตนเอง
- การทดลอง
- อาจารย์ได้พูดการเล่นของเด็ก เด็กๆควรทำกิจกรรมด้วยตนเองโดยเด็กๆได้ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 เช่น
- ตา มีไว้ดู หูมีไว้ฟัง จมูกมีไว้ดมกลิ่น ลิ้นมีไว้ซิม มือมีไว้จับ
- ตา มีไว้ดู หูมีไว้ฟัง จมูกมีไว้ดมกลิ่น ลิ้นมีไว้ซิม มือมีไว้จับ
- อาจารย์พูดถึงการเรียนรู้ในแต่ละด้านของเด็กๆ การปรับความรู้ให้เกิดเป็นความรู้ใหม่ การเรียนรู้คือการอยู่รอดในสังคม
-อาจารย์ให้จับกลุ่มละ5คนทำสื่อการสอนโดยการลอกลายภาพฉาก ภาพหมุนและภาพยกทำภาพเลื่อนขึ้นเลื่อนลง เดินหน้าและถอยหลัง
การบ้าน
อาจารย์ให้ทำสื่อการสอนที่อาจารย์ทำให้ดูในคาบมาส่ง ส่งคาบหน้า
บันทึกการเรียนรู้ที่ 5
วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2554
อาจารย์ให้ส่งงาน
- คัดลายมือ
- เกมส์การศึกษาที่ให้ไปคิดกันมาคนละ 1 เกมส์
การเรียนการสอน
- เกมการศึกษา คือเกมที่เด็กสามารถเล่นเอง ตรวจสอบความถูกด้วยตนเองได้
- แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับเกมการศึกษาคือ มาเรีย มอนเตสเซอรี่
- อาจารย์แนะนำ การทำเกมการศึกษา เช่น เกมจิ๊กซอ เกมจับคู่ เกมบิงโก เกมจัดหมวดหมู่ โดมิโน เกมภาพตัดต่อ เกมเรียงลำดับ
- อาจารย์ให้ความหมายของเกมการศึกษาโดยสรุปว่าเกมการศึกษา เป็นเกมทีจัดให้เด็กเลือกเองตามอิสระ สามารถตรวจสอบได้ ทำให้พัฒนาทักษะการสังเกต คิดวิเคราะห์ ซึ่งอยู่ในกิจกรรมหลักขอเด็กปฐมวัย
กิจกรรมในชั้นเรียน
-อาจารย์ร้องเพลง
มา มา มา พวกเรามา ลดเลิก เหล้า เบียร์ (ซ้ำ)บุหรี่และสิ่งเสพติด (ซ้ำ) เพื่อตัวเราและเพื่อในหลวง
-อาจารย์ร้องเพลง ปฐมวัยมาแล้ว ให้ถูกต้อง
ปฐมวัยมาแล้ว มาแล้วปฐมวัยน้องพี่ (ไหน ไหน ไหน)
ปฐมวัยน้องพี่ ปฐมวัยน้อพี่ ไม่มีร้าวราน
โลหิตสายเดียวกลมเกลียวกนไว้นานๆ
อย่าให้แยกแตกกันเป็นสายธาร
อย่าให้แยกแตกกันเป็นสายธารา
ปฐมวัยมาแล้ว มาแล้วปฐมวัยน้องพี่ (ไหน ไหน ไหน)
ปฐมวัยน้องพี่ ปฐมวัยน้อพี่ ไม่มีร้าวราน
โลหิตสายเดียวกลมเกลียวกนไว้นานๆ
อย่าให้แยกแตกกันเป็นสายธาร
อย่าให้แยกแตกกันเป็นสายธารา
- อาจารย์ได้สั่งงานให้เข้าไปดูเกมการศึกษาจากบล็อคอาจารย์ และให้เลือกคนละ 1 กิจกรรม ต้องทำจากเศษวัสดุเหลือใช้
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4
วันที่ 13 กรกฏาคม 2554
- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งไว้เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว คือ
1. ไปรษณียบัตรรณรงค์ยาเสพติด
2. คัด ก - ฮ3. แต่งเพลงสำหรับเด็ก
จังหวะของการเรียน
1.การนำเข้าสู่บทเรียน
2.ขั้นสอน3.สรุป
กิจกรรมหลักของเด็กปฐมวัย
1.กิจกรรมเคลื่อนไหว
2.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(วงกลม)
3.กิจกรรมศิลปะ
4.กิจกรรมเกมการศึกษา
5.กิจกรรมกลางแจง
6.กิจกรรมอิสระ
กิจกรรมเกมการศึกษา คือการเตรียมอย่งมีขั้นตอเพื่อพัฒนาทักษะ เช่น เกมจับคู่ แยกเปน จับคู่เกี่ยวกับความสมพันธ์ แม-ลูก เงา จำนวน และอื่นๆ
งานที่จารย์มอบหมาย
1.คัดไทย (ให้มีหลังคา)
2. คิดเกมส์การศึกษามาคนละ 1 เกมส์
- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งไว้เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว คือ
1. ไปรษณียบัตรรณรงค์ยาเสพติด
2. คัด ก - ฮ3. แต่งเพลงสำหรับเด็ก
จังหวะของการเรียน
1.การนำเข้าสู่บทเรียน
2.ขั้นสอน3.สรุป
กิจกรรมหลักของเด็กปฐมวัย
1.กิจกรรมเคลื่อนไหว
2.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(วงกลม)
3.กิจกรรมศิลปะ
4.กิจกรรมเกมการศึกษา
5.กิจกรรมกลางแจง
6.กิจกรรมอิสระ
กิจกรรมเกมการศึกษา คือการเตรียมอย่งมีขั้นตอเพื่อพัฒนาทักษะ เช่น เกมจับคู่ แยกเปน จับคู่เกี่ยวกับความสมพันธ์ แม-ลูก เงา จำนวน และอื่นๆ
งานที่จารย์มอบหมาย
1.คัดไทย (ให้มีหลังคา)
2. คิดเกมส์การศึกษามาคนละ 1 เกมส์
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่3
วันที่6 กรกฎาคม 2554
บรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศในห้องเรียน
-สื่ออิเล็กทรอนิกส์ใช้งานไม่ได้จึงตามฝ่ายอิเล็กทรอนิกส์มาทำให้จึงทำให้เสียเวลาไปบ้าง
ความรู้ที่ได้
-ได้ฟังเพลง
-ได้รู้แนวทางการทำบล็อก
-ได้รู้วิธีการนำเพลงไปใช้กับเด็กว่าใช้ในหน้าที่อะไร ตอนไหน
การนำไปใช้
-สามารถนำไปใช้ในการสอนเด็กได้ เช่นจัดกิจกรรมให้เด็ก
การบ้าน
-จับกลุ่ม3คนแต่งเพลงเด็ก
-คัดลายมือก-ฮ
-วาดรูปโทษของยาเสพติดพร้อมเขียนคำคมลงไปรษณีย์บัตรคนละ1ใบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)